Uncategorized

บทที่ 1 พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์Computer( Network) คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเครื่องเชื่อมต่อกัน โดยใช้สื่อกลางและสามารถสื่อสารข้อมูลกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้ยังสามารถใช้ทรัพยากรที่ อยู่ในระบบเครือข่ายร่วมกันได้เช่น เครื่องพิมพ์ ซีดีรอม ฮาร์ดดิสก์ สแกนเนอร์ เป็นต้น

รูปที่1เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบง่ายๆ

การใช้แผ่นดิสก์บันทึกข้ อมูลเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลแล้วส่งให้ ผู้ใช้คนอื่นโดยใช้รรับส่งคนเป็ นสื่อใ ข้อมูล ถือได้ว่าเป็อข่ายคอมพิวเตอร์นเครื แต่เป็ นเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพต ่ามาก เพราะการส่งแผ่นดิส ช้ามากเมื่อเทียบกับความเร็วของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะนี ้เรียกว่า“Sneakernet” เป็น การแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ใช้ในสมัยที่ยังไม่มีเทคโนโลยีเครือข่ายใช้ และบางครั ้งก็ยังมีการใช้คอม ในลักษณะอย่างนี้อยู่ในปัจจุบัน สำหรับองค์กรที่ยังไม่ได้ติดต้ังระบบเครือข่าย

รูปที่2Sneakernet

ทำไมต้องสร้างเครือข่าย
เพื่อติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือเพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ

รูปที่3เครือข่ายคอมพิวเตอร์

ประโยชน์ของเครือข่าย

  1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Share) เช่น เครื่องพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ ซีดีไรท์เตอร์สแกนเนอร์ไว้ใน
    เครือข่าย เป็ นต้น
  3. ประหยัดเนื่องจากสามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน
  4. สามารถใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเมลล์ ในการติดต่อผู้ที่อยู่ห่างไกลได้ อย่างรวดเร็ว
  5. สามารถสนทนาผ่านเครือข่าย หรือการแชท (Chat)
  6. สามารถประชุมระยะไกล (Video Conference)
  7. สามารถใช้ไฟล์ต่างๆ ร่วมกัน เช่น รูปภาพ วีดีโอ เพลง เป็ นต้น
  8. สามารถใช้โปรแกรมต่างๆ ร่วมกัน เช่น ไมโครซอฟท์ออฟฟิต โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นต้น

องค์ประกอบพื้นฐานของเครือข่าย

รูปที่ 4 องค์ประกอบพื ้นฐานของเครือข่าย
  1. คอมพิวเตอร์อย่างน้อย 2 เครื่อง
  2. เน็ตเวิร์คการ์ด หรือ NIC (Network Interface card) เป็ นการ์ดที่เป็ นจุดเชื่อมต่อระหว่าง
    คอมพิวเตอร์กับเครือข่าย
  3. สื่อกลางและอุปกรณ์ส าหรับรับส่งข้อมูล เช่น สายสัญญาณ ได้แก่ สายโคแอคเชียล สายคู่บิด
    เกลียว สายใยแก้วน าแสง เป็ นต้น ส่วนอุปกรณ์เครือข่ายเช่น ฮับ สวิทช์เราท์เตอร์
  4. โปรโตคอล (Protocol) เป็ นภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้สื่อสารกันผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่สามารถ
    สื่อสารกันได้นั ้นจ าเป็ นต้องเป็ นโปรโตคอลเดียวกัน เช่น TCP/IP, IPX/SPX
  5. ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หรือ NOS (Network Operating System) เป็ นตัวที่คอยจัดการเกี่ยวกับ
    การใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้แต่ละคน และควบคุมการใช้ทรัพยากรต่างๆ ของเครือข่าย ระบบ
    ปฏัติการเครือข่ายที่นิยม เช่น Windows Server 2003, Novell Netware, Sun Solaris และ Red
    Hat Linux
รูปที่ 5 องค์ประกอบพื ้นฐานของเครือข่าย

การจำแนกประเภทของเครือข่าย มี 3 วิธีคือ

  1. ใช้ขนาดทางกายภาพของเครือข่ายเป็ นเกณฑ์แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทดังนี ้
    1.1. LAN (Local Area Network) : หรือเครือข่ายท้องถิ่น
    1.2. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง
    1.3. WAN (Wide Area Network) : หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง
  2. ใช้ลักษณะหน้าที่การท างานของคอมพิวเตอร์ ในเครือข่ายเป็ นเกณฑ์ แบ่งออกเป็ น 2
    ประเภทดังนี ้
    2.1. Peer to Peer Network : หรือเครือข่ายแบบเทียบเท่า
    2.2. Client Server Network : หรือเครือข่ายแบบผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ
  3. ใช้ระดับความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเกณฑ์แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทดังนี ้
    3.1. Intranet : หรือเครือข่ายส่วนบุคคล
    3.2. Internet : หรือเครือข่ายสาธารณะ
    3.3. Extranet : หรือเครือข่ายร่วม

  1. ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามขนาดทางภูมิศาสตร์
    เครือข่ายแบ่งตามขนาดทางภูมิศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภทคือ
    1.1. LAN (Local Area Network) : หรือเครือข่ายท้องถิ่น เป็ นเครือข่ายขนาดเล็กครอบคลุมพื ้นที่
    บริเวณจ ากัด มีคอมพิวเตอร์สองเครื่องขึ ้นไปเชื่อมต่อกันด้วยสายสัญญาณไปจนถึงเครือข่ายที่
    ซับซ้อน เช่นมีคอมพิวเตอร์เป็ นร้อยๆ เครื่องและมีอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ อีกมาก

เทคโนโลยี LAN มีหลายประเภทเช่น Ethernet, ATM, Token Ring, FDDI เป็ นต้น แต่ที่นิยมมากที่สุด
ในปัจจุบันก็คือ อีเธอร์เน็ต (Ethernet) ซึ่งในอีเธอร์เน็ตเองยังจ าแนกออกได้หลายประเภทย่อย ขึ ้นอยู่กับ
ความเร็ว โทโปโลยี (Topology) และสายสัญญาณที่ใช้

1.2. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็ นระบบเครือข่ายที่มีขนาดอยู่
ระหว่าง Lan และ Wan เป็ นระบบเครือข่ายที่ใช้ภายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั ้น การเชื่อมโยง
จะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็ นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกล
และต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั ้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึง
มีความเร็วในการสื่อสารไม่สูง เนื่องจากมีสัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่ายแวน
มีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยน าแสง
คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิล
1.3. WAN (Wide Area Network) : หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง เป็ นเครือข่ายที่ครอบคลุมพื ้นที่บริเวณ
กว้าง เช่นในพื ้นที่เมือง หรืออาจจะครอบคลุมทั่วโลกก็ได้ เช่นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต WAN จะใช้
เชื่อมต่อระหว่าง LAN ที่อยู่ห่างไกลกัน เช่นการเชื่อมต่อเครือข่ายของส านักงานย่อยที่อยู่ห่างไกล
กัน เป็นต้น

เทคโนโลยีของ WAN เช่น รีโมทแอคเซสส์(Remote Access), สายคู่เช่า (Leased Line), ISDN
(Integrated Service DigitalNetwork), ADSL (Asynchronous Digital Subscribe Line), Frame Relay
และระบบดาวเทียม
หนังสือบางเล่มจะแบ่งเครือข่ายเป็ น LAN, MAN และ WAN ซึ่ง MAN (Metropolitan Area Network)
เป็ นเครือข่ายขนาดกลางระหว่าง LAN และ WAN และครอบคลุมพื ้นที่เมือง ในช่วงหลัง ๆ เทคโนโลยีที่ใช้
ใน MAN เป็ นเทคโนโลยีเดียวกับเทคโนโลยีของ WAN ดังนั ้นจึงได้จัดให้ MAN เป็ นเครือข่ายประเภท
เดียวกับ WAN

  1. ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามหน้าที่การท างานของคอมพิวเตอร์
    เครือข่ายแบ่งตามหน้าที่การท างานของคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภทคือ
    2.1. Peer to Peer Network : หรือเครือข่ายแบบเทียบเท่า เครือข่ายประเภทนี ้จะไม่มีเครื่อง
    คอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ และไม่มีการแบ่งชั ้นความส าคัญของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับ
    เครือข่าย คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะมีสิทธิเท่าเทียมกันในการจัดการใช้เครือข่าย ซึ่งเรียกว่า เพียร์
    (Peer) นั่นเอง
รูปที่8เพียร์ ทู เพียร์ เน็ตเวิร์ค

คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะท าหน้าที่ทั ้งเป็ นไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์แล้วแต่การใช้งานของผู้ใช้เครือข่าย
ประเภทนี ้ ไม่จ าเป็ นต้องมีผู้ดูแลและจัดการระบบ หน้าที่นี ้จะกระจายไปยังผู้ใช้แต่ละคน เนื่องจากผู้ใช้
คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเป็ นคนก าหนดว่าข้อมูลหรือทรัพยากรใดบ้างของเครื่องนั ้นต้องการใช้ร่วม
(Share) กับผู้ ใช้ คนอื่นๆ ระบบปฏิบัติการที่ใช้ ในเครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์นี ้ได้แก่ Windows95,
Windows98, Windows Me

เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์นี้เหมาะกับสภาพแวดล้อมดังนี้
 มีผู้ใช้เครือข่าย 10 คน หรือน้อยกว่า

  • มีทรัพยากรเครือข่ายที่ต้องใช้ร่วมกัน (Share) ไม่มากนักเช่น ไฟล์ เครื่องพิมพ์ เป็ นต้น
  • ไม่มีความจ าเป็ นในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
  • การขยายตัวของเครือข่ายไม่มากนักในอนาคตอันใกล้
    2.2.Client-Server Network : หรือเครือข่ายแบบผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ เป็ นเครือข่ายที่จ าเป็ นต้องมี
    คอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ เพื่อท าหน้าที่จัดการเรื่องต่างๆ และให้บริการอื่นๆ
    เซิร์ฟเวอร์(Server) คือ คอมพิวเตอร์ที่ท าหน้าที่ในการให้บริการต่างๆ ให้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น
    ไคลเอนท์(Client) คือคอมพิวเตอร์ที่เข้าไปใช้บริการต่างๆ ของเซิร์ฟเวอร์
รูปที่9ไคลเอนท์ เซิร์ฟเวอร์ เน็ตเวิร์ค

คอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์นั ้นควรจะเป็ นเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูงและสามารถให้บริการกับผู้ใช้ได้หลายๆ
คนในเวลาเดียวกันและในขณะเดียวกันคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ก็จะท าหน้าที่รักษาความปลอดภัยในการเข้า
มาใช้บริการและทรัพยากรต่างๆ ของผู้ใช้
เครือข่ายแบบไคลเอนท์เซิร์ฟเวอร์ เป็ นระบบที่ส่วนใหญ่ยอมรับว่าเป็ นมาตรฐานของการสร้างเครือข่าย
ในปัจจุบัน
ประเภทของเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการแบบต่างๆ

รูปที่10 เซิร์ฟเวอร์
  1. ไฟล์และพรินต์เตอร์เซิร์ฟเวอร์ (File and Printer Server)
    1.1. ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ (File Server) จะให้บริการเกี่ยวกับพื ้นที่เก็บไฟล์ต่าง ๆ ซึ่งเซิร์ฟเวอร์ประเภทนี ้จะมี
    ฮาร์ดดิสก์ที่สามารถบรรจุข้อมูลได้เพียงพอกับความต้องการของผู้ใช้
    1.2. พรินต์เซิร์ฟเวอร์ (Print Server) ท าหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการใช้เครื่องพิมพ์ที่พ่วงต่อเข้ากับ
    เครือข่าย
  2. แอพพลิเคชั่นเซิร์ฟเวอร์ (Application Server) ท าหน้าที่ให้บริการเกี่ยวกับโปรแกรมและข้อมูลที่เกี่ยวกับ
    โปรแกรมนั ้นๆ เช่น เซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล ซึ่งจะท าหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ให้ง่ายต่อการ
    เรียกดู
  3. อินเทอร์เน็ตเซิร์ฟเวอร์ (Internet Server) เช่น
    3.1. เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการข้อมูลในรูปแบบ HTML (Hyper Text
    Markup Language) ซึ่งสามารถเปิ ดอ่านได้โดยใช้เว็บบราวเซอร์ (Web Browser) เช่น Internet
    Explorer และ Fire Fox เป็ นต้น

3.2. เมลล์เซิร์ฟเวอร์ (Mail Server) คือ เซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการในการรับส่ง จัดเก็บ และจัดการเกี่ยวกับ
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ของผู้ใช้ซึ่งอาจจะเป็ นอีเมลล์ที่ใช้ได้เฉพาะภายในองค์กร หรือ
เชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ตไดเร็คทรอรี่เซิร์ฟเวอร์ (Directory Server) เป็ นการให้บริการข้อมูล
เกี่ยวกับทรัพยากรของเครือข่าย พร้อมทั ้งควบคุมการเข้าใช้ทรัพยากรเหล่านั ้น เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับ
ผู้ใช้ เครื่องพิมพ์ ไฟล์เซิร์ฟเวอร์เป็ นต้น

  1. ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามระดับความปลอดภัยของข้อมูล สามารถแบ่งออกได้เป็ น 3
    ประเภทคือ
    3.1.INTERNET : หรือเครือข่ายสาธารณะ เป็ นเครือข่ายที่ครอบคลุมทั่วโลก ซึ่งมีคอมพิวเตอร์เป็ น
    ล้านๆ เครื่องเชื่อมต่อเข้ากับระบบและยังสามารถขยายตัวขึ ้นเรื่อยๆ ทุกปี มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก
    และผู้ใช้เหล่านี ้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้อย่างอิสระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เป็น
    อุปสรรค
รูปที่11 อินเทอร์เน็ตINTERNET

อินเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอลที่เรียกว่า TCP/IP (Transport Connection Protocol/Internet Protocol) ใน
การสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่าย การเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต ต้องเชื่อมต่อผ่านองค์กรที่เรียกว่า “ISP”
(Internet Service Provider) ซึ่งจะท าหน้าที่ให้บริการในการเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต
3.2. INTRANET : หรือเครือข่ายส่วนบุคคล เป็ นเครือข่ายส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเช่น
เว็บ, อีเมลล์, FTP เป็ นต้น
 อินทราเน็ตใช้โปรโตคอล TCP/IP ส าหรับการส่งข้อมูลเช่นเดียวกับอินเทอร์เน็ต
 อินทราเน็ตเป็ นเครือข่ายที่องค์กรสร้างขึ ้นส าหรับให้พนักงานขององค์กรใช้เท่านั้น

รูปที่12 อินทราเน็ตINTRANET

3.3. EXTRANET : หรือเครือข่ายร่วม เป็ นเครือข่ายกึ่งอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต กล่าวคือ เอ็กส์ตร้า
เน็ต เป็ นเครือข่ายที่เชื่อมต่อระหว่างอินทราเน็ต ของสององค์กร ดังนั ้นจะมีบางส่วนของเครือข่ายที่
เป็ นเจ้าของร่วมกันระหว่างสององค์กรหรือบริษัท
การสร้ างอินทราเน็ตไม่ได้จ ากัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายที่เกี่ยวกับการรักษาความ
ปลอดภัยของข้อมูลที่ทั ้งสององค์กรต้องตกลงร่วมกัน เช่น องค์กรหนึ่งจะอนุญาตให้ผู้ใช้อีกองค์กรหนึ่ง
ล็อกอินเข้ามาในระบบอินทราเน็ตของตัวเองหรือไม่
การสร้างอินทราเน็ตจะเน้นที่ระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและสิ่งที่ส าคัญที่สุดคือ นโยบาย
การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลและการบังคับใช้

รูปที่13 เอ็กส์ตร้ าเน็ตEXTRANET

ใส่ความเห็น